ฉิ่ง ๑ หมายถึง น. เครื่องตีกำหนดจังหวะชนิดหนึ่ง ทําด้วยโลหะหล่อหนา รูปร่างกลมคล้ายถ้วยเจาะรูตรงกลางไว้ร้อยเชือกให้เป็นคู่กันสําหรับถือตีบอกจังหวะเข้ากับดนตรี; ชื่อเพลงไทยประเภทหนึ่ง.
น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. (ดึกดําบรรพ์).
ว. เก, เฉ, ไม่ตรง, (ใช้แก่แขนขา) เช่น ขาฉิ่ง แขนฉิ่ง.
ก. ติ, ติเตียน, เช่น สามสิ่งนี้โหดให้ โทษแท้คนฉิน. (โลกนิติ), มักใช้เข้าคู่กับคํา ติ เป็น ติฉิน.
(กลอน) ว. ฉัน, เช่น, คล้าย, เหมือน, เช่น ทิพฉายฉวงฉินฉัตร ใบชรอัดอรชร. (ม. คำหลวง วนประเวสน์).
ว. ฉัน, มีแสงกล้า, มีแสงที่พุ่งออกไป; งาม, มักใช้เข้าคู่กับคํา โฉม เป็นฉินโฉม หรือโฉมฉิน เช่น ฉินโฉมเฉกช่างวาด. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์).
[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทําลาย. (ป., ส.).
[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทําลาย. (ป., ส.).